Final
เทคนิคการสอบ
1.ทำปฏิทินเกี่ยวกับในช่วงสอบปลายภาคว่า แต่ละวัน จะต้องทำอะไรให้เสร็จบ้าง ลองเขียนวันสอบและเวลา และสถานที่ลงก่อน จากนั้น ก็จัดทำตารางอ่านหนังสือ และลองดูว่า อาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ที่โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยวันไหน เวลาไหน เพื่อที่คุณจะได้ไปขอคำปรึกษาได้ถูกต้อง หรือหากมีการจัดสอนหรือจัดติวพิเศษในช่วงปลายภาค คุณก็สามารถเข้าไปนั่งฟังหรือนั่งติวเพื่อทบทวนความรู้ได้ด้วย
2.ถามอาจารย์ว่า ข้อสอบที่จะออกช่วงปลายภาค จะเป็นแบบอัตนัยหรือปรนัย และใช้เวลาเท่าไหร่ในการทำข้อสอบให้เสร็จ อนุญาตให้ใช้เครื่องคิดเลขได้หรือไม่ เพื่อที่เราจะสามารถเตรียมตัวเตรียมใจได้ถูก เพราะเราคงไม่อยากใช้เครื่องคิดเลขตอนฝึกทำข้อสอบ หากอาจารย์ไม่อนุญาตให้เอาเครื่องคิดเลขเข้าห้องสอบหรอกนะ นอกจากนี้ เราก็ควรถามอาจารย์เกี่ยวกับเนื้อหาโดยทั่วไปที่จะออกข้อสอบ เช่น จะมีข้อสอบเกี่ยวกับบทเรียนเก่า ๆ เยอะไหม หรือมีข้อสอบเกี่ยวกับบทเรียนใหม่ ๆ หรือเปล่า อาจารย์อาจจะไม่บอกว่า มีบทไหนที่จะเน้นเป็นพิเศษ แต่ถ้าเกิดจะถามก็ไม่ผิดอะไร และข้อมูลเหล่านั้น จะช่วยให้เราเจาะข้อสอบได้ตรงประเด็นมากขึ้นนั่นเอง
3.การอ่านหนังสือทั้งคืน มักจะไม่ได้ผล และการอดนอนจะทำให้ประสิทธิภาพในการทำข้อสอบลดลง และการอดนอนนั้น ก็เป็นเหมือนการทรมานตัวเองอย่างหนึ่ง การคร่ำเครงอยู่กับหนังสือมมากเกินไป อาจจะทำให้เราสับสน และพอถึงเวลาทำข้อสอบจริง ๆ สิ่งที่อ่านมาก็จะใช้ไม่ได้ ดังนั้น ลองวางแผนว่าจะอ่านอะไรบ้างทั้งวัน และเราจะได้อ่านได้ตรงประเด็น จากนั้น ก็ค่อยเข้านอนแต่หัวค่ำ แล้วพอตื่นมา เราก็มีเวลาเหลือเฟือที่จะชาร์จพลัง เพื่อเตรียมตัวไปสอบอย่างสดชื่น
4.ถ้าเราไม่มีสมาธิอ่านหนังสือในหอพัก ก็ลองเปลี่ยนบรรยากาศไปอ่านที่ห้องสมุดดูสิ ปิดเสียงโทรศัพท์ในกรณีที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยอ่านหนังสือ และข้อเสียของเราคือการเข้าเว็บไซต์ดูนั่นนี่ ก็ลองหาโปรแกรม SelfControl โปรแกรมที่จะมาบล็อกเราไม่ให้เข้าเว็บไซต์ที่เราเข้าประจำ เป็นระยะเวลาหนึ่ง นอกจากนี้ ยังมีโปรแกรมต่าง ๆ มากมาย ที่เราสามารถดาวน์โหลดมา และช่วยให้เรามีสมาธิกับการอ่านหนังสือมากขึ้นได้ด้วย
5.มีกฎอยู่ 2-3 ข้อเพื่อการทำข้อสอบให้ดี และข้อที่สำคัญที่สุดคือ การอ่านคำสั่งให้ถี่ถ้วนและอ่านคำถามให้เข้าใจก่อนที่จะตอบข้อสอบ ลองขีดเส้นใต้ตรงส่วนที่สำคัญ เพราะคำถามหลอก ๆ ยาวยืด ย่อมทำให้เราหลงกลและตอบไม่ตรงประเด็น หากทำข้อสอบข้อใดไม่ได้ ก็ให้ข้ามไปก่อน แล้วค่อยกลับมาทำใหม่หลังจากที่ตอบคำถามข้ออื่น ๆ เสร็จแล้ว เพราะบางครั้ง คำถามที่อยู่หลัง ๆ อาจช่วยทำให้เรานึกคำตอบของคำถามก่อนหน้านี้ออกก็ได้ และหากทำข้อสอบเสร็จแล้ว แต่ยังพอมีเวลาอยู่ ลองตรวจกระดาษคำตอบอีกครั้ง เพื่อที่เราจะได้แน่ใจว่า ไม่กาคำตอบผิดข้อ และตอบคำถามครบทุกข้อ และอย่าลืมเขียนชื่อตัวเองลงในกระดาษคำตอบด้วย
อาชีพโปรแกรมเมอร์ หรือนักพัฒนาซอฟท์แวร์ทำงานด้าน IT, ในการเลือกสายงาน ระหว่างเป็นโปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ (SA) หรือเป็นนักทดสอบ (Tester)
ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้กับมนุษย์ทั้งเครื่องใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานพาหนะ กลายเป็นสิ่งที่เราต้องใช้ในชีวิตประจำวัน และ คอมพิวเตอร์ ได้มีบทบาทในการดำรงชีวิตของเรามากในปัจจุบัน ทั้งในโรงเรียน มหาวิทยาลัย รวมไปถึงองค์กรใหญ่ๆที่ใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาในการเก็บข้อมูล จัดการเอกสารต่างๆ การคำนวน และการค้นหาข้อมูล และอื่นๆนอกจากนี้อีกมากมายที่ทำให้การทำงานต่างๆในองค์กรมีความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ซึ่งผู้ที่อยู่เบื้องหลังความสะดวกสบายพวกนี้คือ “โปรแกรมเมอร์” (Programmer) นักพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นี่เอง
ถ้าคุณเป็นผู้สร้าง คุณจะต้องเป็นProgrammer และการที่คุณจะ ไปสู่จุดหมายนั้นคุณ จะต้องทำอย่างไรถึงจะเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ ต้องทำให้ได้ 5 ข้อ ดังต่อ ไปนี้ครับ
1. สำรวจดูว่า ตัวเองมีคุณสมบัติเป็นโปรแกรมเมอร์หรือไม่
2. ฝึกเขียนโปรแกรม
3. ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม
4. เผยแพร่ผลงาน
5. กระทำตามข้อ 1 – 4 อย่างสม่ำเสมอ
การเรียนของโปรเเกรมเมอร์
มัธยมปลาย สายสามัญ สายวิทย์-คณิต สายอาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช สาขาคอมพิวเตอร์ สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก Programmer มหาวิทยาลัย คณะสารสนเทศศาสตร์ หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แต่ละคณะสาขาภาควิชาเอกเน้นคนละด้าน
ต้องหาตัวเองให้พบ ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็น แบบไหน เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไรแล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียนและการทำงาน บางคนคิดว่า ชอบ ถนัด พอมาเรียนจริง ๆ เรียน ไม่ได้ ไม่ไหว ทุกปี ทุกมหาวิทยาลัย มีย้าย คณะ สาขา ภาควิชา เอก ภาษา ใช้ในการเรียนต่อ และ การทำงาน ถ้า ชอบ ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา เอก คอมพิวเตอร์ ถ้า ชอบ ถนัด ออกแบบ พัฒนาเกม สาขา ภาควิชา เอก เกม สาขา ภาควิชา เอก เกม ก็มีเรียน เขียนโปรแกรม ไม่ว่า จะ เขียนโปรแกรม เกม ต้อง มี การออกแบบ Design User Interface:UI เขียนโปรแกรม ต้องเก่ง คณิตศาสตร์ ภาษาE อังกฤษ & หัวLogic ด้วยถึงจะดี คอมพิวเตอร์ อ่านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วย เขียนโปรแกรม อ่านให้เข้าใจ ปิดหนังสือ เว็บไซต์ Website ลองตั้งโจทย์ ขึ้น มา เขียน ตามความเข้าใจของ เรา อย่า เขียน ตามหนังสือ เว็บไซต์ Website เพราะ หนังสือ เว็บไซต์ Website ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้า เขียนโปรแกรม ตาม หนังสือ เว็บไซต์ Website แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ต้อง แก้ไขโค้ด Edit Code ได้ เป็น โดย ไม่พึ่ง คนอื่น ต้อง ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ได้ เป็น เพราะ ไม่มีใคร มานั่งชี้แนะ ได้ตลอดเวลา ก็ เหมาะ ที่จะเรียนสาขาภาควิชาเอก
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา เอกหนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา ภาควิชา เอกเน้นคนละด้าน คอมพิวเตอร์หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมีหลายสาขา ภาควิชา เอกให้เลือกเรียนเยอะ คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา เอกจะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา Database ฐานข้อมูล Network Data Communication & Network การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย System Analysis And Design:SA วิเคราะห์และออกแบบระบบ จะต่างกันตรง รหัสวิชา ชื่อวิชา คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้นการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้นการเขียนโปรแกรม ภาษาJava ภาษาJava ต้องมีพื้นฐาน ภาษาC คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา เอก ที่แตกต่างกันไป เกม แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป เกม แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา เอก ที่แตกต่างกันไป บุคลิกภาพของผู้เรียน .มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ .มีความกระตือรือร้นในการเรียน .ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ .ชอบคิดและเรียนรู้ในการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ฯลฯ
โอกาสในการทำงาน ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ ฯลฯ
1.ทำปฏิทินเกี่ยวกับในช่วงสอบปลายภาคว่า แต่ละวัน จะต้องทำอะไรให้เสร็จบ้าง ลองเขียนวันสอบและเวลา และสถานที่ลงก่อน จากนั้น ก็จัดทำตารางอ่านหนังสือ และลองดูว่า อาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ที่โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยวันไหน เวลาไหน เพื่อที่คุณจะได้ไปขอคำปรึกษาได้ถูกต้อง หรือหากมีการจัดสอนหรือจัดติวพิเศษในช่วงปลายภาค คุณก็สามารถเข้าไปนั่งฟังหรือนั่งติวเพื่อทบทวนความรู้ได้ด้วย
2.ถามอาจารย์ว่า ข้อสอบที่จะออกช่วงปลายภาค จะเป็นแบบอัตนัยหรือปรนัย และใช้เวลาเท่าไหร่ในการทำข้อสอบให้เสร็จ อนุญาตให้ใช้เครื่องคิดเลขได้หรือไม่ เพื่อที่เราจะสามารถเตรียมตัวเตรียมใจได้ถูก เพราะเราคงไม่อยากใช้เครื่องคิดเลขตอนฝึกทำข้อสอบ หากอาจารย์ไม่อนุญาตให้เอาเครื่องคิดเลขเข้าห้องสอบหรอกนะ นอกจากนี้ เราก็ควรถามอาจารย์เกี่ยวกับเนื้อหาโดยทั่วไปที่จะออกข้อสอบ เช่น จะมีข้อสอบเกี่ยวกับบทเรียนเก่า ๆ เยอะไหม หรือมีข้อสอบเกี่ยวกับบทเรียนใหม่ ๆ หรือเปล่า อาจารย์อาจจะไม่บอกว่า มีบทไหนที่จะเน้นเป็นพิเศษ แต่ถ้าเกิดจะถามก็ไม่ผิดอะไร และข้อมูลเหล่านั้น จะช่วยให้เราเจาะข้อสอบได้ตรงประเด็นมากขึ้นนั่นเอง
3.การอ่านหนังสือทั้งคืน มักจะไม่ได้ผล และการอดนอนจะทำให้ประสิทธิภาพในการทำข้อสอบลดลง และการอดนอนนั้น ก็เป็นเหมือนการทรมานตัวเองอย่างหนึ่ง การคร่ำเครงอยู่กับหนังสือมมากเกินไป อาจจะทำให้เราสับสน และพอถึงเวลาทำข้อสอบจริง ๆ สิ่งที่อ่านมาก็จะใช้ไม่ได้ ดังนั้น ลองวางแผนว่าจะอ่านอะไรบ้างทั้งวัน และเราจะได้อ่านได้ตรงประเด็น จากนั้น ก็ค่อยเข้านอนแต่หัวค่ำ แล้วพอตื่นมา เราก็มีเวลาเหลือเฟือที่จะชาร์จพลัง เพื่อเตรียมตัวไปสอบอย่างสดชื่น
4.ถ้าเราไม่มีสมาธิอ่านหนังสือในหอพัก ก็ลองเปลี่ยนบรรยากาศไปอ่านที่ห้องสมุดดูสิ ปิดเสียงโทรศัพท์ในกรณีที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยอ่านหนังสือ และข้อเสียของเราคือการเข้าเว็บไซต์ดูนั่นนี่ ก็ลองหาโปรแกรม SelfControl โปรแกรมที่จะมาบล็อกเราไม่ให้เข้าเว็บไซต์ที่เราเข้าประจำ เป็นระยะเวลาหนึ่ง นอกจากนี้ ยังมีโปรแกรมต่าง ๆ มากมาย ที่เราสามารถดาวน์โหลดมา และช่วยให้เรามีสมาธิกับการอ่านหนังสือมากขึ้นได้ด้วย
5.มีกฎอยู่ 2-3 ข้อเพื่อการทำข้อสอบให้ดี และข้อที่สำคัญที่สุดคือ การอ่านคำสั่งให้ถี่ถ้วนและอ่านคำถามให้เข้าใจก่อนที่จะตอบข้อสอบ ลองขีดเส้นใต้ตรงส่วนที่สำคัญ เพราะคำถามหลอก ๆ ยาวยืด ย่อมทำให้เราหลงกลและตอบไม่ตรงประเด็น หากทำข้อสอบข้อใดไม่ได้ ก็ให้ข้ามไปก่อน แล้วค่อยกลับมาทำใหม่หลังจากที่ตอบคำถามข้ออื่น ๆ เสร็จแล้ว เพราะบางครั้ง คำถามที่อยู่หลัง ๆ อาจช่วยทำให้เรานึกคำตอบของคำถามก่อนหน้านี้ออกก็ได้ และหากทำข้อสอบเสร็จแล้ว แต่ยังพอมีเวลาอยู่ ลองตรวจกระดาษคำตอบอีกครั้ง เพื่อที่เราจะได้แน่ใจว่า ไม่กาคำตอบผิดข้อ และตอบคำถามครบทุกข้อ และอย่าลืมเขียนชื่อตัวเองลงในกระดาษคำตอบด้วย
อาชีพ
อาชีพโปรแกรมเมอร์ หรือนักพัฒนาซอฟท์แวร์ทำงานด้าน IT, ในการเลือกสายงาน ระหว่างเป็นโปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ (SA) หรือเป็นนักทดสอบ (Tester)
ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้กับมนุษย์ทั้งเครื่องใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานพาหนะ กลายเป็นสิ่งที่เราต้องใช้ในชีวิตประจำวัน และ คอมพิวเตอร์ ได้มีบทบาทในการดำรงชีวิตของเรามากในปัจจุบัน ทั้งในโรงเรียน มหาวิทยาลัย รวมไปถึงองค์กรใหญ่ๆที่ใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาในการเก็บข้อมูล จัดการเอกสารต่างๆ การคำนวน และการค้นหาข้อมูล และอื่นๆนอกจากนี้อีกมากมายที่ทำให้การทำงานต่างๆในองค์กรมีความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ซึ่งผู้ที่อยู่เบื้องหลังความสะดวกสบายพวกนี้คือ “โปรแกรมเมอร์” (Programmer) นักพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นี่เอง
ถ้าคุณเป็นผู้สร้าง คุณจะต้องเป็นProgrammer และการที่คุณจะ ไปสู่จุดหมายนั้นคุณ จะต้องทำอย่างไรถึงจะเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ ต้องทำให้ได้ 5 ข้อ ดังต่อ ไปนี้ครับ
1. สำรวจดูว่า ตัวเองมีคุณสมบัติเป็นโปรแกรมเมอร์หรือไม่
2. ฝึกเขียนโปรแกรม
3. ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม
4. เผยแพร่ผลงาน
5. กระทำตามข้อ 1 – 4 อย่างสม่ำเสมอ
การเรียนของโปรเเกรมเมอร์
มัธยมปลาย สายสามัญ สายวิทย์-คณิต สายอาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช สาขาคอมพิวเตอร์ สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก Programmer มหาวิทยาลัย คณะสารสนเทศศาสตร์ หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แต่ละคณะสาขาภาควิชาเอกเน้นคนละด้าน
ต้องหาตัวเองให้พบ ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็น แบบไหน เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไรแล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียนและการทำงาน บางคนคิดว่า ชอบ ถนัด พอมาเรียนจริง ๆ เรียน ไม่ได้ ไม่ไหว ทุกปี ทุกมหาวิทยาลัย มีย้าย คณะ สาขา ภาควิชา เอก ภาษา ใช้ในการเรียนต่อ และ การทำงาน ถ้า ชอบ ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา เอก คอมพิวเตอร์ ถ้า ชอบ ถนัด ออกแบบ พัฒนาเกม สาขา ภาควิชา เอก เกม สาขา ภาควิชา เอก เกม ก็มีเรียน เขียนโปรแกรม ไม่ว่า จะ เขียนโปรแกรม เกม ต้อง มี การออกแบบ Design User Interface:UI เขียนโปรแกรม ต้องเก่ง คณิตศาสตร์ ภาษาE อังกฤษ & หัวLogic ด้วยถึงจะดี คอมพิวเตอร์ อ่านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วย เขียนโปรแกรม อ่านให้เข้าใจ ปิดหนังสือ เว็บไซต์ Website ลองตั้งโจทย์ ขึ้น มา เขียน ตามความเข้าใจของ เรา อย่า เขียน ตามหนังสือ เว็บไซต์ Website เพราะ หนังสือ เว็บไซต์ Website ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้า เขียนโปรแกรม ตาม หนังสือ เว็บไซต์ Website แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ต้อง แก้ไขโค้ด Edit Code ได้ เป็น โดย ไม่พึ่ง คนอื่น ต้อง ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ได้ เป็น เพราะ ไม่มีใคร มานั่งชี้แนะ ได้ตลอดเวลา ก็ เหมาะ ที่จะเรียนสาขาภาควิชาเอก
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา เอกหนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา ภาควิชา เอกเน้นคนละด้าน คอมพิวเตอร์หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมีหลายสาขา ภาควิชา เอกให้เลือกเรียนเยอะ คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา เอกจะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา Database ฐานข้อมูล Network Data Communication & Network การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย System Analysis And Design:SA วิเคราะห์และออกแบบระบบ จะต่างกันตรง รหัสวิชา ชื่อวิชา คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้นการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้นการเขียนโปรแกรม ภาษาJava ภาษาJava ต้องมีพื้นฐาน ภาษาC คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา เอก ที่แตกต่างกันไป เกม แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป เกม แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา เอก ที่แตกต่างกันไป บุคลิกภาพของผู้เรียน .มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ .มีความกระตือรือร้นในการเรียน .ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ .ชอบคิดและเรียนรู้ในการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ฯลฯ
โอกาสในการทำงาน ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ ฯลฯ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น